วันจันทร์ที่ 5 มีนาคม พ.ศ. 2555

แกะสลัก


แกะ (อังกฤษ: Sheep) เป็นสัตว์เคี้ยวเอื้อง กินอาหารประเภทพืชและหญ้าเป็นหลัก มีขนหนาฟู ออกลูกเป็นตัวและเลี้ยงลูกด้วยน้ำนม[1] แกะบางพื้นที่กินดอกไม้และแมลงบางชนิด เช่น แกะภูเขา ส่วนใหญ่แกะจะอยู่รวมกันเป็นฝูงขนาดกลางจนถึงขนาดใหญ่ มีถิ่นอาศัยอยู่ตามพื้นที่หนาวเย็น แถบภูเขาและพื้นที่ราบโล่ง เช่น ประเทศนิวซีแลนด์ และประเทศออสเตรเลีย อเมริกาตอนกลาง และตอนใต้ของประเทศแคนาดา โดยมีการกระจายอยู่ตลอดแถบประเทศเขตหนาว[2] ในโลกนั้นมีมากกว่า 200 สายพันธุ์ โดยมีตั้งแต่สายพันธุ์ดังเดิมจนถึง สายใหม่ที่ถูกผสมพันธุ์โดยธรรมชาติ และสายพันธุ์ที่มนุษย์พัฒนาเพื่อเพิ่มคุณภาพของการใช้งานผลิตภัณฑ์ เช่น ขนสัตว์, เนื้อ, นม,

เนื้อหา

 [ซ่อน

[แก้] ประเภทของแกะ

แบ่งออกเป็นหลายประเภท โดยแบ่งแยกตามกะโหลกศีรษะ มีอยู่เป็น 2 แบบ
  • กะโหลกแบบมีเขางอก เป็นแกะในจำพวกแกะภูเขา และแกะที่มีลักษณะขนสั้นแต่ใหญ่ เพื่อใช้ในการต่อสู้และป้องกันตัวตามธรรมชาติ
  • กะโหลกเล็กไม่มีเขางอก เป็นแกะบ้านเหมาะสำหรับการเลี้ยง เอาเนื้อ นม ขนไปใช้ มีหลากหลายพันธุ์ทั้งแบบขาวนวลและดำนวล โดยภายหลังมีการผสมได้สายพันธุ์ใหม่ๆ อีกมากมาย

[แก้] อาหารและผลิตภันฑ์

แกะถูกนำมาเป็นอาหารตั้งแต่เมือหลายร้อยปีก่อน ในการใช้เนื้อในการรับประทาน หนังเอามาใช้การทำเป็นเครื่อนุ่งห่ม โดยตลอดหลายทศวรรษที่ผ่านมามีการพัฒนาการใช้งานของแกะในทางอุตสาหกรรม แฟชั่น และการบำรุงร่างกายการเลี้ยงแกะของเกษตรกรส่วนใหญ่เลี้ยงเป็นรายได้เสริม ลักษณะการเลี้ยงจึงปล่อยให้หากินเองตามธรรมชาติ ไม่มีการใช้หลักวิชาการ เพราะมักเข้าใจว่าแกะสามารถหากินได้เก่ง รวมทั้งต้องการลดต้นทุนการเลี้ยง อย่างไรก็ตามหากผู้เลี้ยงไม่เอาใจใส่ปรับปรุงการเลี้ยงให้ถูกต้อง ผลตอบแทนจากการเลี้ยงจะน้อยลงเป็นเงาตามตัว เช่น สุขภาพทั่วไปไม่สมบูรณ์ ให้ลูกอ่อนแอ อัตราการของลูกระยะก่อนหย่านมสูง เป็นต้น
          ดังนั้น เกษตรกรผู้สนใจและคิดจะเริ่มเลี้ยงแกะ จึงควรให้ความเข้าใจการเลี้ยงอย่างถูกต้อง เพื่อให้ได้ผลตอบแทนกำไรจากการเลี้ยงสูงที่สุด







     1.1 ข้อดีในการเลี้ยงแพะ
             ให้ผลผลิตและผลตอบแทนเร็วกว่าการเลี้ยงโค
             ขนาดตัวเล็ก ให้พื้นที่น้อย เลี้ยงดูง่าย
             ให้ผลผลิตเนื้อ หนัง ขน
     1.2 เป้าหมายในการเลี้ยงแพะ
            เพื่อเพิ่มจำนวนลูกหย่านมต่อปีให้สูงขึ้น โดย
             ลดช่วงห่างการให้ลูกลง จาก 10-12 เดือน เป็น 7-8 เดือน ดูแลจัดการเรื่องการผสมพันธุ์ให้พ่อแม่พันธุ์มีความสมบูรณ์
             เพิ่มจำนวนลูกต่อครอกให้สูงขึ้น คัดเลือกลูกแกะที่เกิดจากลูกแฝดมาเลี้ยง ดูแลการให้อาหารเพิเศษแก่แม่พันธุ์ 2 สัปดาห์ก่อนผสมพันธุ์

 เป้าหมายการเลี้ยงแกะ

ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น